ศาลรัสเซีย ตัดสิน! จัดให้ Facebook – Instagram เป็นกลุ่มหัวรุนแรง

ศาลรัสเซีย ตัดสิน! จัดให้ Facebook – Instagram เป็นกลุ่มหัวรุนแรง

ศาลรัสเซีย ได้เผยแพร่คำตัดสินให้ Meta โดยเฉพาะภาคส่วน Facebook – Instagram มีความผิดฐานดำเนินการกิจกรรมในฐานะกลุ่มหัวรุนแรง เมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2565 ที่ผ่านมา ศาลรัสเซีย ประจำเมืองมอสโคว ได้ประกาศถึงคำตัดสินให้บริษัท Meta โดยเฉพาะอย่างภาคส่วนของแพลตฟอร์ม Facebook และ Instagram มีความผิดในฐานดำเนินการกิจกรรมในฐานะกลุ่มหัวรุนแรง (extremist activity) ซึ่งทั้งนี้คำตัดสินดังกล่าวจะไม่มีผลต่อบริการ WhatsApp แต่อย่างใด

โดยทาง Meta ไม่ได้มีการแสดงความเห็นแต่อย่างใด 

ภายหลังจากที่ศาลพื้นที่เขต Tverskoi ประจำเมืองมอสโคว ได้แถลงการถึงคำตัดสินดังกล่าวที่ได้รับการยื่นฟ้องจากอัยการภาครัฐ เพื่อให้มีผลต่อการดำเนินการระงับการดำเนินกิจกรรมภายในพื้นที่ของประเทศรัสเซีย

อ้างอิงจากการรายงานของสำนักข่าว Interfax ที่ได้รายงานว่า Victoria Shakina ทนายประจำบริษัท Meta นั้น ได้กล่าวกับศาลไปก่อนหน้านี้ว่า บริษัทนั้นไม่ได้มีการดำเนินกิจกรรมตามที่ได้กล่าวหา และไม่ได้มีการส่งเสริมการเหยียดชาวรัสเซีย (Russophobia) ด้วย

สำนักข่าวรัสเซีย TASS ได้รายงานว่า Olga Solopova ผู้พิพากษาประจำศาลดังกล่าว ได้ตัดสินให้คำสั่งพิพากษานี้มีผลโดยทันที ซึ่งก็ยังไม่มีข้อมูลเพิ่มเติมว่าทาง Meta นั้นจะดำเนินการอุธรณ์หรือไม่ ในส่วนของ WhatsApp นั้น ศาลได้มีการละเว้นโทษให้ เนื่องจากว่า “แพลตฟอร์มนั้นขาดความสามารถในการดำเนินการสำหรับการเผยแพร่ข้อมูลแบบสาธารณะ”

โดยการดำเนินการดังกล่าวนั้น ถือว่าเป็นความพยายามแก้เผ็ดล่าสุดของ “รัสเซีย” ภายหลังจากที่ทาง Facebook และ Instagram นั้น เปิดให้ผู้ใช้งานภายในประเทศยูเครนที่ถูกรุกรานโดยประเทศรัสเซีย สามารถที่จะโพสต์ข้อความที่กระตุ้นให้มีการใช้ความรุนแรงต่อกองกำลังทหาร, หน่วยปฏิบัติการ และประธานาธิบดีรัสเซีย – วลาดิเมียร์ ปูติน ได้

ซึ่งภายหลังนั้น Meta ได้มีการปรับเปลี่ยนข้อบังคับใหม่ ไม่ให้มีการเรียกร้องถึงการตายต่อประมุขของรัฐ และแนะว่าข้อบังคับการใช้งานนั้น ไม่ควรนำไปตีความเพื่อสนับสนุนการใช้ความรุนแรงกับชาวรัสเซียอย่างทั่วไป แต่ก็ไม่สามารถหยุดยั้งการฟ้องร้อง และการระงับการดำเนินการได้

หลังจากการสืบสวนเพิ่มเติม นักสืบหน่วยจู่โจมดำเนินการหมายจับค้นหาที่ Edensor Park ประมาณ 7 โมงเช้าวันนี้ (วันพฤหัสบดีที่ 31 ตุลาคม 2562) จับกุมผู้ต้องหาชายรายที่ 4 อายุ 45 ปี

“นี่เป็นการสอบสวนที่ซับซ้อนและเรารู้ว่าเมทิลแอมเฟตามีนพวกนี้ถูกส่งไปยังห้องปฏิบัติการลับในเขตนครซิดนีย์เพื่อกระบวนการสกัดทำยาเสพติด” รักษาการณ์ผู้ช่วยผู้บัญชาการ กล่าว “เราจะไม่หยุดอยู่แค่นี้ เราจะดำเนินการสอบสวนเพิ่มเติมเพื่อขยายผลการจับกุมไปยังเครือข่ายที่เหลือต่อไป”

เมื่อถามถึงข้อกล่าวหาเรื่องการโจมตี บาฮารีกล่าวว่า มันคือเรื่องโกหกทั้งเพ พวกเขาพยายามที่จะกล่าวหา เพื่อบังคับให้เธอกลับไปอิหร่าน เธอบอกว่าไม่มีคดีที่ค้างคาอยู่ในฟิลิปปินส์

หนุ่ม ก่อเหตุใช้ขวานและมีดฆ่าบุคลากรในโรงเรียน ‘สวีเดน’ ดับ 2 ศพ

หนุ่มอายุ 18 ปีก่อเหตุใช้ขวานและฆ่าบุคลากรในโรงเรียนในประเทศ สวีเดน เป็นเหตุให้มีผู้เสียชีวิต 2 ศพ เบื้องต้นยังไม่ทราบมูลเหตุจูงใจในการก่อเหตุอุกอาจครั้งนี้ เมื่อวันที่ 22 มีนาคม สำนักข่าว BBC รายงานว่าเจ้าหน้าที่ได้จับกุมชายวัย 18 ปีในฐานะผู้ต้องสงสัยว่าเป็นผู้ก่อเหตุฆาตกรรม หญิงสองคนในช่วงวัย 50 ปี ภายในโรงเรียนแห่งหนึ่งในนครมัลโม ประเทศสวีเดน เมื่อช่วงเวลาประมาณ 17.00 น. ตามเวลาท้องถิ่น

โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจเปิดเผยว่า ในช่วงเกิดเหตุนั้นมีนักเรียนและครูราวๆ 50 อยู่ในอาคาร และเมื่อเจ้าหน้าที่ถึงที่เกิดเหตุพบผู้ได้รับบาดเจ็บสองราย ซึ่งทางเจ้าหน้าที่รีบนำตัวผู้ได้รับบาดเจ็บส่งโรงพยาบาล ก่อนที่ทั้งสองจะเสียชีวิตในเวลาต่อมา

นอกจากนี้ทางเจ้าหน้าที่ยังได้ตรวจสอบโรงเรียน ซึ่งจากการตรวจค้นโรงเรียน ทำให้ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจเชื่อว่าน่าจะมีผู้ก่อเหตุเพียงแค่คนเดียว

ขณะที่สื่อท้องถิ่นรายงานว่าผู้ต้องสงสัยถือขวานและมีด แต่ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ได้ยืนยันว่า รายงานฉบับดังกล่าวจริงหรือไม่ เจ้าหน้าที่กำลังทำการสืบสวนเพิ่มเติม พร้อมทั้งเร่งหามูลเหตุจูงใจในการก่อเหตุอุกอาจในครั้งนี้ โดยทางเจ้าหน้าที่ตำรวจประเทศสวีเดนจะแถลงข่าวเพิ่มเติมในช่วงเช้าของวันอังคารตามเวลาท้องถิ่น

ทาง CNN ได้ติดต่อไปยังสำนักงานตรวจคนเข้าเมืองฟิลิปปินส์ และสถานทูตอิหร่านในกรุงมะนิลาแล้ว แต่ยังไม่ได้รับคำตอบใด ฟิล โรเบิร์ตสัน รองผู้อำนวยการองค์กรสิทธิมนุษยชนกล่าวว่า มีเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ หลายครั้ง ซึ่งการกดขี่สิทธิมนุษยชนในตะวันออกกลาง ได้ใช้กระบวนการ (Interpol) ในทางที่ผิด เพื่อพยายามบังคับให้กลับประเทศ

นางงามสาวบอกว่า สาเหตุเกิดจากเธอใช้ตราสัญลักษณ์ราชวงศ์ปาห์ลาวี และธงชาติเก่าของอิหร่านสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาใช้ในการแต่งกาย ตอนประกวดนางงาม เธอบอกว่าที่ทำแบบนี้เพราะต้องการเป็นกระบอกเสียงของประชาชน

Credit : แนะนำสถานที่ท่องเที่ยว | แต่งบ้านและสวน | พระเครื่อง | รีวิวกล้องถ่ายรูป